Interactive Multiplayer หรือมักเรียกสั้นๆ ว่า 3DO เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมที่บริษัท พานาโซนิค, ซันโย และ โกลด์สตาร์(ปัจจุบันคือ แอลจี) จัดเป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่ห้าเครื่องแรก และสามารถทำยอดขายได้ถึง 6 ล้าน วางจำหน่ายครั้งแรกที่ประเทศ สหรัฐอเมริกา และวางจำหนายที่ประเทศ แคนาดา เป็นประเทศที่สองตัวเครื่องออกแบบโดย Dave Needle และ RJ Mical แห่ง New Technology Group สนับสนุนการทำตลาดโดยทริป ฮอว์กิง แห่ง EA Gamesภาษาญี่ปุ่น (เกี่ยวกับเสียงนี้ นิฮงโงะ (วิธีใช้·ข้อมูล) ) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา
คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้วเรียกตัวอักษรที่ยืมมาว่า คันจิ และใช้กันมาจนเมื่อนำไปเขียนในรูปแบบของพู่กัน เนื่องจากการเขียนแบบพู่กันจะรวดเร็วและเส้นมักจะติดกันนี่จึงเป็นสาเหตุทำให้เกิดอักษรฮิรากะนะ และคาตาคะนะถูกสร้างขึ้นมาจากการตัดนำบางส่วนของคันจิออกมาเพื่อใช้ในการเขียนคำทับศัพท์ และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール อ่านว่า : bīru (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー อ่านว่า : kōhī (koffie แปลว่า กาแฟ)แม้ว่าตำราไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นหลายเล่มจะกล่าวถึงคำสรรพนาม (代名詞 ไดเมชิ) แต่นั่นก็ไม่ใช่คำสรรพนามที่แท้จริง เพราะคำสรรพนามที่แท้จริงนั้นจะต้องไม่มีคำมาขยาย แต่ไดเมชิในภาษาญี่ปุ่นมีคำขยายได้ เช่น 背の高い彼女 (se no takai kanojo หมายถึง เธอ ที่มีคำว่าสูงมาขยาย) ปัจจุบันมีไดเมชิใหม่ๆเกิดขึ้นมากมาย ในขณะที่ไดเมชิเก่าๆก็กำลังหายไปอย่างรวดเร็ว
มีไดเมชิจำนวนหนึ่งที่ถือได้ว่าใกล้เคียงกับคำสรรพนาม เช่น 彼 (kare, เขา) 彼女 (kanojo, เธอ); 私 (watashi, ฉัน) ขณะที่ไดเมชิบางคำถือว่าเป็นคำนามส่วนตัว ไม่ใช่สรรพนาม เช่น 己 (onore, ฉัน (ให้ความหมายในทางอ่อนน้อมเป็นอย่างมาก)) หรือ 僕 (boku, ฉัน (เด็กผู้ชาย)) คำเหล่านี้เปรียบเสมือนชื่อตัวเอง นั่นคือคนอื่นอาจเรียกเราด้วยไดเมชิเดียวกับที่เราเรียกตัวเองก็ได้ ผู้อื่นอาจใช้ おのれ (onore) ซึ่งเป็นการเรียกผู้ฟังในเชิงหยาบคาย หรืออาจใช้ boku ซึ่งเป็นการเรียกผู้ฟังในเชิงเห็นผู้ฟังเป็นเด็ก นอกจากนี้ ยังมีไดเมชิบางคำที่มีหลายความหมาย เช่น kare และ kanojo สามารถแปลได้ว่า แฟน(ที่เป็นผู้ชาย) และ แฟน(ที่เป็นผู้หญิง) ตามลำดับ
คนญี่ปุ่นมักไม่ค่อยใช้ไดเมชิเรียกตัวเอง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะภาษาญี่ปุ่นไม่จำเป็นต้องระบุประธานทุกครั้งในกรณีที่ผู้พูดและผู้ฟังเข้าใจตรงกันอยู่แล้ว และโดยปกติ คนญี่ปุ่นมักจะเรียกชื่อหรือใช้คำนามเฉพาะเจาะจงแทนการใช้สรรพนามอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ขนาดเล็ก มีจอภาพแสดงผล (โดยมากมักมีสีเดียว ใช้เทคโนโลยี LCD ต่อมาพัฒนาเป็นจอสี และมีหลายจอ) มีลำโพง มีปุ่มสั่งการไม่มาก เช่น ปุ่มเปิด-ปิด เลือกเกมส์ (mode) ปุ่มควบคุมทิศทาง (d-pad ได้ไอเดียจาก เกมกด) ปุ่มยิง (ปุ่มแอ็คชั่น A, B) ปุ่มปรับเสียง-ความสว่าง จุดมุ่งหมายแรกคือ ความสะดวกในการพกพา (mobility) ใส่ในกระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกง หรือกระเป๋าถือ ใช้พลังงานจากถ่านแบตเตอรี่ หรือเสียบสายชาร์จผ่านหม้อแปลง กินไฟน้อย เล่นได้นานหลายชั่วโมง เพื่อใช้ฆ่าเวลา แก้เบื่อ ต่อมาก็ผนวกความสามารถการใช้สอยเพิ่มเติมเช่น มีนาฬิกาบอกเวลา-ตั้งปลุก, เป็นเครื่องคิดเลข ฯลฯ หนึ่งเครื่องมีหนึ่งเกม ต่อมามีหลายเกมส์ให้เลือก เช่น เตตริส หรือเป็นระบบเปลี่ยนซอฟท์เกมได้เรื่อยๆ
ปัจจุบัน อุปกรณ์พกพาหลายๆ อย่าง ทั้งเกมพกพา, เครื่องจดบันทึก, กล้องถ่ายรูป, เครื่องฟังเพลง มักรวมเข้าไปอยู่ใน โทรศัพท์มือถือ แบบสมาร์ทโฟนเพียงเครื่องเดียวการสื่อสารไร้สาย (อังกฤษ: Wireless communication) หมายถึงการถ่ายโอนข้อมูลสารสนเทศระหว่างจุดสองจุดหรือมากกว่า โดยไม่ได้เชื่อมต่อกันด้วยตัวนำไฟฟ้า เทคโนโลยีไร้สายที่พบมากที่สุดใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ ซึ่งอาจใช้ในระยะทางสั้นๆไม่กี่เมตรสำหรับโทรทัศน์ หรือไกลเป็นล้านกิโลเมตรลึกเข้าไปในอวกาศสำหรับวิทยุ การสื่อสารไร้สายรวมถึงหลากหลายชนิดของการใช้งานอยู่กับที่, เคลื่อนที่และแบบพกพา ได้แก่ วิทยุสองทาง, โทรศัพท์มือถือ, ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว (personal digital assistants หรือ PDAs) และเครือข่ายไร้สาย ตัวอย่างอื่น ๆ ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิทยุไร้สายรวมถึง GPS, รีโมตประตูโรงรถ เม้าส์คอมพิวเตอร์ไร้สาย, แป้นพิมพ์และชุดหูฟังไร้สาย, หูฟังไร้สาย, เครื่องรับวิทยุไร้สาย, โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมไร้สาย, เครื่องรับโทรทัศน์ทั่วไปและโทรศัพท์บ้านไร้สาย
มิติที่นินเทนโดผลิตออกมาวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ผู้เล่นต้องมองผ่านดีสเพลย์ที่มีรูปร่างเหมือนแว่นซึ่งตั้งบนขาวาง โดยภาพของเกมจะเป็นภาพ 3 มิติ โดยการหลอกสายตาให้มองเห็นภาพ 2 มิติดูมีมิติแบบภาพ 3 มิติ ออกวางขายครั้งแรกในญี่ปุ่นในปี ค.ศ.1995 เครื่องเวอร์ชวลบอยถูกวิจารณ์ว่าเป็นความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดของนินเทนโดในวงการอุตสาหกรรมเกมช่วงหลังยุคเครื่องเกมซูเปอร์แฟมิคอม นินเทนโดต้องการสานต่อความสำเร็จของเครื่องเกมพกพาของตนที่ชื่อ เกมบอย ที่ประสบความสำเร็จอย่างล้นหลาม นินเทนโดมองว่าภาพของเครื่องเกมบอยที่เป็นภาพขาวดำความละเอียดต่ำนั้นล้าสมัยไปแล้ว จึงมีความต้องการจะพัฒนาเครื่องเกมพกพารุ่นใหม่มาแทนที่
นินเทนโดได้มอบหมายให้ กุนเป โยโคอิ นักพัฒนาเกมผู้มีชื่อเสียงผู้ให้กำเนิดเครื่องเกมพกพาที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงอย่างเกม แอนด์ วอช และ เกมบอย และผู้ให้กำเนิดเกมซีรีส์เมทรอยด์เป็นผู้พัฒนาเครื่องเกมพกพารุ่นใหม่นี้ โยโคอิได้พัฒนาเครื่องเกมที่อาศัยหลักการมองภาพ 3 มิติของดวงตา โดยผู้เล่นจะต้องมองเข้าไปในกล้องเหมือนสวมแว่นประดาน้ำ และในเครื่องจะมีหน้าจอ 2 ชุดสำหรับดวงตาซ้ายและขวา ภาพจากจอทั้ง 2 จะถูกมองแยกต่างหากจากดวงตาแต่ละข้าง ผลที่ได้คือเกิดภาพลวงตาที่ทำให้ดูเหมือนภาพมีมิติแบบภาพ 3 มิติ อย่างไรก็ดี เนื่องด้วยการพัฒนากินเวลามากเกินไป และนินเทนโดต้องการรีบหันไปให้ความสนใจกับการพัฒนาเครื่องนินเทนโด64มากกว่า เครื่องเวอร์ชวลบอยจึงออกวางจำหน่ายทั้งๆที่โยโคอิยังพัฒนามันไม่เสร็จสมบูรณ์ ผลที่ได้คือเครื่องที่มีขนาดเทอะทะ มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะเป็นเครื่องเกมพกพา หนำซ้ำเวลาเล่นต้องหาพื้นที่วางเครื่องที่มั่นคง เพราะไม่มีอะไรตรึงตัวเครื่องติดไว้กับหัว ทำให้ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบเป็นจำนวนมาก
เครื่องเวอร์ชวลบอยนั้นเป็นที่ผิดหวังของแฟนๆนักเล่นเกมที่รอคอยเครื่องเกมนี้ตั้งแต่ครั้งที่นินเทนโดประกาศจะผลิตเครื่องเกม 3 มิติเป็นครั้งแรก และนินเทนโดยังโฆษณาประสิทธิภาพของเครื่องเอาไว้เกินความเป็นจริงเป็นอย่างมาก เมื่อตัวเครื่องจริงออกมาไม่เป็นไปตามที่โฆษณาไว้ จึงสร้างความผิดหวังและมีคำวิจารณ์ในแง่ลบเป็นจำนวนมาก ทางนินเทนโดกล่าวหาว่านายโยโคอิผู้ให้กำเนิดเครื่องเป็นต้นเหตุของความล้มเหลวครั้งใหญ่นี้ กล่าวกันว่าทางบริษัทเริ่มจะเหินห่างจากนายโยโคอิ ภายหลังนายโยโคอิจึงลาออกจากบริษัทไปผลิตเกมให้บริษัทบันได เครื่องเวอร์ชวลบอยได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบเป็นอย่างมาก ในปี 2007 นิตยสาร PC World จัดอันดับให้เครื่องเวอร์ชวลบอยอยู่ที่อันดับ 5 ในอันดับสินค้าเทคโนโลยีที่น่าเกลียดที่สุดในประวัติศาสตร์
ถึงแม้จะถูกจัดอันดับว่าเป็นเครื่องเกมที่มีคุณภาพแย่และถือเป็นความล้มเหลว ทำให้ผลิตออกมาเพียง 80,000 เครื่อง แต่ด้วยจำนวนที่น้อยและหายากนี้ ทำให้เครื่องเวอร์ชวลบอยกลายเป็นของสะสมหายากของบรรดาแฟนๆนินเทนโด และสามารถขายได้ผ่านทางการประมูลในราคาแพง ในเมืองดูไบ มีการค้นพบเครื่องเวอร์ชวลบอย 100 เครื่องถูกเก็บลืมไว้ในลังไม้ที่เก็บไว้ในโกดัง เป็นเครื่องเวอร์ชวลบอยที่ขายไม่ออกและถูกเก็บลืมไว้ โดยที่เจ้าของคนปัจจุบันไม่รู้เลยว่ายังมีเครื่องพวกนี้อยู่ในโกดังจนกระทั่งถูกค้นพบในภายหลัง
เครื่องเวอร์ชวลบอยถือเป็นหนึ่งในเครื่องเกมที่มีเกมน้อยที่สุด มีเกมออกมาเพียง 22 เกมเท่านั้นนินเท็นโดได้วางจำหน่ายเครื่องเล่นเกมคอนโซล 6 รุ่น ได้แก่ คัลเลอร์ ทีวี เกม ฟามิคอม ซูเปอร์ฟามิคอม นินเท็นโด 64 เกมคิวบ์ วี วียู และ นินเทนโดสวิตช์ สำหรับเครื่องเล่นเกมพกพา ได้วางจำหน่ายเกมบอย 7 รุ่น เวอร์ชวลบอย นินเท็นโด DS นินเท็นโด 2DS นินเท็นโด 3DS นิว นินเท็นโด 3ดีเอส และ เกมกดและ วิดีโอเกม อื่น ๆ อีกมากนินเท็นโดมีเกมที่มีชื่อเสียงหลายเกม เช่น เกมชุดมาริโอ ดองกี้คอง เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา ไฟร์เอมเบลม เมทรอยด์ เอฟ-ซีโร่ สตาร์ฟ็อกซ์ สแพล็ตตูน เคอร์บี้ แอนิมอลครอสซิง และโปเกมอน พนักงานหลายคนของนินเท็นโดมีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการเกม เช่น ชิเงรุ มิยะโมะโตะ ผู้ให้กำเนิดมาริโอ เป็นต้นนินเท็นโดสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองเกียวโต จังหวัดเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น นินเท็นโดอเมริกาตั้งอยู่ที่ เรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน (สำนักงานใหญ่สาขาอเมริกา), นอร์ธเบนด์ รัฐวอชิงตัน และ แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย นินเท็นโดแคนาดาตั้งอยู่ที่ ริชมอนด์ บริติชโคลัมเบีย และโทรอนโต นินเท็นโดออสเตรเลียตั้งอยู่ที่เมลเบิร์น รัฐวิกตอเรีย นินเท็นโดยุโรปตั้งอยู่ที่เมือง Großostheim ประเทศเยอรมนี นินเท็นโดจีนได้ร่วมกับ iQue และล่าสุดนินเท็นโดเกาหลี ก่อตั้งเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549ในปี 1988 เซก้าได้ผลิตเครื่องเล่นเกม 16 บิทรุ่นใหม่ที่ชื่อเมกะไดรฟ์ออกวางตลาด เครื่องเมกะไดรฟ์มีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องแฟมิคอมของนินเทนโด ในช่วงแรกทางนินเทนโดยังลังเลที่จะเริ่มโครงการพัฒนาเครื่องเกมรุ่นใหม่ แต่ในที่สุดก็ตัดสินใจพัฒนาเครื่องเกมรุ่นใหม่มาทดแทนเครื่องแฟมิคอมที่เริ่มจะล้าสมัยแล้ว
[NPC5]