Skip to content
  • Facebook
  • Twitter
  • Instagram
  • อีเมล

sociedadesdedesenvolvimento

Drinka Pinta vimento A Day.

  • หน้าแรก
  • Electronic
  • เกี่ยวกับเรา
  • บล็อก
  • ติดต่อเรา
  • Toggle search form

แผงวงจรไฟฟ้า

Posted on July 27, 2021 By volvimento

แผงวงจรไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งทำหน้าที่ตรวจจับเหตุการณ์ไฟฟ้ารั่ว และทำการตัดไฟเพื่อรักษาชีวิตของผู้ที่ถูกไฟฟ้าดูด รวมทั้งป้องกันทรัพย์สินเสียหายเนื่องจากไฟไหม้ที่เกิดจากไฟฟ้ารั่วเป็นปริมาณมาก, โดยปกติจะติดตั้งที่แผงไฟหลักของบ้านพักอาศัย หรือในส่วนของบ้านที่มีความเสี่ยงในการเกิดไฟฟ้าดูดเป็นพิเศษ (เช่นห้องน้ำที่มีการใช้เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า, เครื่องโกนหนวด หรือเครื่องเป่าผม) เครื่องตัดไฟรั่วแบบตรวจจับแรงดัน: ทำงานโดยวัดศักย์ไฟฟ้าที่ตัวถังโลหะของเครื่องใช้เทียบกับหลักดินที่ติดตั้งแยกต่างหาก หากมีความต่างศักย์มากเกินค่าที่กำหนดไว้ (ปกติจะตั้งไว้ที่ 50 โวลต์) ก็จะทำการตัดไฟ, ปัจจุบันเครื่องตัดไฟรั่วชนิดนี้ไม่นิยมใช้แล้ว เนื่องจากความยุ่งยากในการติดตั้ง (ต้องต่อสายแยกจากตัวถังเครื่องไฟฟ้ามาที่เครื่องตัดไฟรั่ว และต่อสายจากเครื่องตัดไฟรั่วไปยังหลักดิน) และการป้องกันที่ไม่ครอบคลุมในกรณีที่เกิดการรั่วจากตัวถังส่วนที่ไม่ได้ทำการวัด เครื่องตัดไฟรั่วแบบตรวจจับกระแส: ทำงานโดยการเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าวงจรกับปริมาณที่ไหลออกจากวงจร หากปริมาณไหลออกน้อยกว่าที่ไหลเข้า แสดงว่าในวงจรมีไฟฟ้ารั่วไหลออกไปภายนอก, หากปริมาณการรั่วไหลมากเกินที่กำหนดไว้ (ปกติจะตั้งไว้ที่ 30 มิลลิแอมป์) ก็จะทำการตัดไฟ, เครื่องตัดไฟรั่วประเภทนี้จะไม่ใช้หลักดิน ทำให้สามารถติดตั้งได้แม้ในระบบไฟฟ้าที่ไม่มีสายดิน

เครดิตฟรี

เบรกเกอร์ชนิด RCBO ป้องกันกระแสเกิน 50A และจับกระแสไฟรั่วที่ 30mA ยี่ห้อชไนเดอร์ ในปัจจุบันอุปกรณ์ตัดไฟรั่วมักถูกติดตั้งกับ Main Breaker ในตู้Load Centre ของอาคารในชื่อเรียก RCCB หรือ RCBO แทนคำเรียก ELCB สำหรับประเภท RCCB (residual-current circuit breaker) นั้นมีความสามารถเพียงป้องกันไฟฟ้ารั่วเท่านั้น เหมาะสำหรับใช้เป็นเบรกเกอร์เครื่องทำน้ำอุ่นสำหรับรุ่นเก่าที่ไม่มี ELCB แต่สำหรับแบบ RCBO จะมีความสามารถในการตัดกระแสเกินเช่นเดียวกันกับ Breaker แบบธรรมดาด้วยจึงทำให้ Main Breaker อาคารในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นแบบ RCBO บางครั้งที่เราไปสัมผัสกับเครื่องใช้ไฟฟ้า แล้วมีความรู้สึกเหมือนโดนดูด หรือที่เรียกกันติดปากว่า ไฟดูด แล้วสงสัยไหมว่าแท้จริงแล้ว ไฟดูดนั้นเกิดมาจากอะไร ไฟดูดนั้นเกิดจากการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในเครื่องใช้ไฟฟ้าแล้วคนไปสัมผัสโดนเข้าพอดีนั่นเอง ซึ่งการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า หรือเรียกสั้นๆว่า ไฟรั่ว คือการที่กระแสไฟฟ้าได้รั่วไหลจากวงจรไฟฟ้าไปที่ผิววัสดุของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีผิววัสดุเป็นโลหะที่เป็นสื่อนำไฟฟ้าอย่างดี ทำให้จุดเหล่านั้นมีกระแสไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า เป็นอันตรายต่อคนที่ไปสัมผัสได้

สล็อต

การเกิดไฟรั่วเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะการเดินสายไฟที่ไม่ได้มาตรฐาน ขาดการตรวจสอบและบำรุงรักษา ใช้งานไม่ถูกต้อง ตลอดจนการเสื่อมสภาพของฉนวนที่ใช้ห่อหุ้ม เวลาเกิดไฟรั่วขึ้นนั้นจะส่งผลเสียหลายอย่างทั้งเป็นอันตรายอย่างมากต่อผู้ที่ไปสัมผัส เกิดการสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยเปล่าประโยชน์ และเป็นเหตุให้เกิดไฟไหม้ได้ เครื่องตัดไฟรั่ว RCD (Residual Current Device) คือ เครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติที่จะตัดกระแสไฟฟ้าภายในระยะเวลาที่กำหนด เมื่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้าและออก มีค่าไม่เท่ากัน นั่นคือมีกระแสไฟฟ้าบางส่วนที่รั่วหายไป เช่น รั่วไหลจากเครื่องใช้ไฟฟ้าลงดินหรือกระแสไฟฟ้ารั่วผ่านคนที่ไปสัมผัสอุปกรณ์ที่มีไฟรั่วอยู่ ขณะใช้งานปกติจะไม่มีกระแสไฟฟ้ารั่ว ดังนั้น เครื่องตัดไฟรั่ว จะไม่ทำงาน ส่วนมากจะติดตั้งในตู้คอนซูมเมอร์ ยูนิต ในบ้านพักอาศัย

สล็อตออนไลน์

เครื่องตัดไฟรั่ว อาจมีชื่อเรียกอื่นๆ อีก เช่น เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ (RCD, RCBO, RCCB) หรือเครื่องตัดกระแสไฟฟ้ารั่วลงดิน (ELCB, GFCI) ถูกนำไปใช้งานร่วมกับ เซอร์กิต เบรกเกอร์ ประเภทอื่นๆ เช่น เบรกเกอร์ลูกย่อย MCB หรือ เบรกเกอร์ MCCB แต่ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายจะมี 3 ประเภทด้วยกันได้แก่ RCCB (Residual Current Circuit Breakers), RCBO (Residual Current Circuit Breakers with Overload protection) และ ELCB (Earth Leakage Circuit Breaker)เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ถูกผลิตขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์หลักสำหรับนำมาใช้ป้องกันไฟดูดหรือไฟรั่ว ส่วนใหญ่ใช้เป็นควบคุมเครื่องปรับอากาศ ปั๊มน้ำ ฯลฯซึ่งหน้าตาภายนอกโดยรวมถือว่าคล้ายกับเซฟตี้เบรกเกอร์มาก ต่างกันที่ ELCB จะมีปุ่มเล็กๆที่เรียกว่าปุ่ม TEST แต่เซฟตี้เบรกเกอร์นั้นไม่มีปุ่มTEST และหลักการทำงานและวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้งานก็แตกต่างกันด้วย

jumboslot

เบรกเกอร์ ELCB มีหน้าที่คือ ตัดหรือปลดวงจรไฟฟ้าลงอัตโนมัติเมื่อมีกระแสไฟฟ้ารั่วลงดินจนถึงค่าที่ตรวจจับได้ และยังสามารถปลดวงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดไฟฟ้าลัดวงจรได้อีกด้วย แต่เบรกเกอร์ ELCB จะไม่สามารถปลดวงจรไฟฟ้าออกได้เองในกรณีที่ใช้กระแสไฟฟ้าเกินกว่าพิกัดที่ระบุไว้ อย่างเช่น บนตัว ELCB ระบุค่าพิกัดกระแสที่ 30 A แต่เมื่อมีการใช้กระแสไฟฟ้าสูงเกินกว่าที่ระบุไว้หากเป็นเบรกเกอร์แบบธรรมดาก็จะปลดวงจรออกเองเมื่อใช้งานพิกัดกระแสเกินกว่าที่ระบุแต่ในกรณีของ ELCB พิกัดกระแสที่ระบุบนตัวของมันคือค่าสูงสุดที่มันจะทนได้ไม่ใช่ค่าที่มันจะปลดวงจร การมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเกินพิกัดสูงสุดที่แสดงบน ELCB ก็จะทำให้มันพังโดยที่ไม่มีการปลดวงจร ELCBจึงเหมาะกับการนำไปใช้งาน เพื่อควบคุมและป้องกันความเสี่ยงเฉพาะกับเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งเราทราบปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุดอยู่แล้วอย่างเช่นเครื่องทำน้ำอุ่น, เครื่องทำน้ำร้อน เป็นต้น

jumboslot

Electronic Tags:ประวัติ, แผงวงจรไฟฟ้า

Post navigation

Previous Post: เครื่องฟอกอากาศ
Next Post: เครื่องฉายบนผนัง

Archives

  • November 2021
  • October 2021
  • September 2021
  • August 2021
  • July 2021
  • May 2021
  • April 2021

Categories

  • Electronic
July 2021
M T W T F S S
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031  
« May   Aug »

Recent Posts

  • กล่องรับสัญญาณ
  • เครื่องชงกาแฟแบบหยด
  • Atelier
  • แอร์
  • ไอริเวอร์

Tags

Sanders Associates กระบอกกรองนำ้ กันย้อน INVT ชุดปลั๊กไล่ยุง ที่โกนหนวดไฟฟ้า ประวัติ ประวัติเครื่องตัดไฟ พัดลมดูดอากาศ พัดลมไอเย็น สปอตไลท์ หม้อชาบู หม้อต้มกาแฟ อินเวอร์เตอร์เพียวซายเวฟ เครื่องกรองนำ้ เครื่องกำจัดกลิ่น เครื่องกำจัดแมลงวัน เครื่องขยายเสียง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉายบนผนัง เครื่องตีไข่ไฟฟ้า เครื่องทำความเย็น เครื่องทำทาโกะยากิ เครื่องทำวาฟเฟิล เครื่องทำไข่ม้วน เครื่องนวดหน้า เครื่องบดน้ำแข็งไส เครื่องปรับอากาศ เครื่องปั่นผสมแป้งไฟฟ้า เครื่องปิ้งขนมปัง เครื่องพ่นละอองฝอยระบบไฟฟ้า เครื่องพ่นไอน้ำ เครื่องฟอกอากาศ เครื่องรีดผ้าไอนำ้ เครื่องร่อนแป้งไฟฟ้า เครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องอบผมไฟฟ้า เครื่องเล่นซีดี เครื่องไล่ยุง เตาหมูกะทะ เตาแก๊ซไฟฟ้า แบตลิเที่ยมฟอสเฟต แผงวงจรไฟฟ้า ไดโอดบริดจ์ ไอริเวอร์

Copyright © 2022 sociedadesdedesenvolvimento.

Powered by PressBook Dark WordPress theme